4

 

1. ประวัติการจัดตั้งนิคม
ในปีพ.ศ.๒๕๐๑ กรมชลประทานก่อสร้างเขื่อนภูมิพล จังหวัดตาก มีพื้นที่ราษฎรถูกน้ำท่วมจากการสร้างเขื่อน จำนวน  ๔,๘๖๑ ครอบครัว กรมชลประทานจึงได้อพยพราษฎรไปอยู่ที่ จังหวัดตาก ส่วนหนึ่งและอีกส่วนหนึ่งอพยพมาจัดที่ดินให้ที่ อำเภอดอยเต่า และ อำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ (หรือนิคมสร้างตนเองเขื่อนภูมิพลในปัจจุบัน) จำนวน ๑,๗๑๑ ครอบครัว ๆ ละประมาณ ๕ ไร่  พื้นที่รับผิดชอบตามพระราชกฤษฎีกา  จัดตั้งนิคมสร้างตนเองเขื่อนภูมิพล จังหวัดเชียงใหม่  จำนวน ๑๑๒,๐๐๐ ไร่

คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ ๘ ตุลาคม ๒๕๐๖ ให้กระทรวงมหาดไทย จัดตั้งนิคมสร้าง-ตนเองเขื่อนภูมิพล ดำเนินการโดย กรมประชาสงเคราะห์ แทนกรมชลประทาน และได้มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งนิคมสร้างตนเองเขื่อนภูมิพล
เมื่อวันที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๑๒  เป็นนิคมสร้างตนเอง ลำดับที่ ๓๘ ของกรมประชาสงเคราะห์ สังกัดกระทรวงมหาดไทย

ปีพ.ศ.๒๕๓๖ กรมประชาสงเคราะห์โอนไปสังกัดกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม
วันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๔๕ กรมประชาสงเคราะห์เปลี่ยนเป็นกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 
               

พื้นที่ตามพระราชกฤษฎีกา การจัดตั้งนิคมสร้างตนเอง พ.ศ. ๒๕๑

จำนวนทั้งสิ้น ๑๑๒,๐๐๐ ไร่ จำแนกเป็น

พื้นที่จัดสรรให้กับสมาชิกนิคม
พื้นที่ราษฎรครอบครองเดิ พื้นที่สงวน ๒๐ %และที่จัดสรรไม่ได้
พื้นที่เพื่อกิจการนิคม    พื้นที่อนุญาตให้ส่วนราชการอื่นใช้
พื้นที่สาธารณะ

 

จำนวน
จำนวน
จำนวน
จำนวน
จำนวน
จำนวน
รวมทั้งสิ้น

๘,๘๕๙ -๓-๕๐
๖๓,๖๖๗-๓-๔๒
๑๒,๗๘๒
๙,๓๘๔-๒-๑๖
๑,๐๔๖-๑-๕๙
๑๖,๒๖๒
๑๑๒,๐๐๐

ไร่
ไร่
ไร่                   
ไร่
ไร่
ไร่
ไร่

หน้าถัดไป